ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ฌอง-แบ๊ปติสต์ ลุลลี่

ฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี (ฝรั่งเศส: Jean-Baptiste Lully) เดิมชื่อ โจวันนี บัตติสตา ลุลลี (อิตาลี: Giovanni Battista Lulli) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศสเชื้อสายอิตาลี เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1632 ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี เป็นบุตรของเจ้าของโรงโม่ เขาได้รับการศึกษาเพียงเล็กน้อย แต่กลับมีพรสวรรค์ในการเล่นกีตาร์ ไวโอลิน และเต้นรำ ในปี ค.ศ. 1646 เขาได้พบกับดุ๊กแห่งกีซ (Duke of Guise) ผู้ชักนำเขาไปยังฝรั่งเศส ที่ที่เขาได้เข้าไปรับใช้อาน มารี หลุยส์ ดอร์เลอ็อง ดูว์แช็สเดอมงป็องซีเย (Anne Marie Louise d'Orl?ans, duchesse de Montpensier) ด้วยการเป็นเด็กล้างจาน ซึ่งมีข้อขัดแย้งกันในเรื่องนี้ว่า มีความเป็นไปได้ว่าเขาจะเป็นครูสอนภาษาอิตาลีให้แก่เธอ

ด้วยความช่วยเหลือของท่านหญิงทำให้พรสวรรค์ทางด้านดนตรีของลูว์ลีได้รับการฝึกฝน เขาได้ศึกษาทฤษฎีดนตรีกับนีกอลา เมทรูว์ (Nicolas M?tru) แต่สุดท้ายก็กลับถูกไล่ออกเพราะเขียนบทกวีที่หยาบคายเกี่ยวกับ "สุภาพสตรีผู้ให้การอุปถัมภ์"

หลังจากนั้นลูว์ลีได้ทำงานด้วยการเป็นนักเต้นรำในราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1652 จนถึงต้นปี ค.ศ. 1653 เขาได้ประพันธ์บทเพลงบาเลเดอลานุย (Ballet de la Nuit) และเป็นที่โปรดปรานของพระองค์เป็นอย่างมาก เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนักประพันธ์ประจำวงดุริยางค์แห่งราชสำนัก ได้ควบคุมวงเครื่องสายของราชสำนักฝรั่งเศส คือ เลแว็ง-กัทร์วียอลงดูว์รัว (Les Vingt-quatre Violons du Roi) หรือที่เรียกว่า กร็องด์บงด์ (Grande Bonde) เขาเบื่อหน่ายกับความไม่มีระเบียบวินัยของกร็องด์บงด์ รวมทั้งได้รับพระบรมราชานุญาตให้เขาได้ตั้งวงของตนเองคือ เปอตีวียอลง (Petits Violons)

ลูว์ลีประพันธ์บัลเล่ต์ให้ราชสำนักเป็นจำนวนมากในช่วงทศวรรษที่ 1650 ถึง 1660 เขาประสบความสำเร็จอย่างงดงามในการประพันธ์บทเพลงประกอบบัลเลต์ (Comedy-Ballet) ร่วมกับมอลีแยร์ (Moli?re) เช่นเรื่อง เลอมารียาฌฟอร์เซ (Le Marriage forc?, 1664), ลามูร์เมเดอแซ็ง (L'Amour m?decin, 1665) และเลอบูร์ฌัวฌ็องตียอม (Le Bourgeois gentilhomme, 1670) ความสนพระทัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในด้านบัลเลต์เริ่มลดน้อยลงเมื่อเขามีอายุมากขึ้นและความสามารถในการเต้นเสื่อมถอยลง การแสดงครั้งสุดท้ายของเขาคือในปี 1670)

ดังนั้นลูว์ลีจึงมุ่งการประพันธ์ไปยังอุปรากร เขาได้สิทธิพิเศษสำหรับอุปรากรจากปีแยร์ แปแร็ง (Pierre Perrin) และการสนับสนุนของฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์ (Jean-Baptiste Colbert) รวมทั้งกษัตริย์ ทำให้เขามีอำนาจเด็ดขาดในการควบคุมการแสดงดนตรีทั้งหมดทั่วฝรั่งเศสจนกระทั่งเขาตาย

ลูว์ลีดำเนินชีวิตตามใจชอบจนฉาวโฉ่ ด้วยการแต่งงานกับมาดแลน ล็องแบร์ (Madeleine Lambert) ลูกสาวของเพื่อนผู้เป็นลูกศิษย์ของมีแชล ล็องแบร์ (Michel Lambert) และมีลูกด้วยกันถึง 10 คน แต่จุดสูงสุดในชีวิตของเขาคือในปี 1685 เมื่อเขามีความมั่นใจพอที่จะประกาศความสัมพันธ์กับชายหนุ่มชื่อ บรูเน็ท (Brunet) มหาดเล็กจากลาชาแปล (La Chapelle) แม้ว่าชีวิตเขาจะโรยด้วยกลีบกุหลาบ แต่ความสัมพันธ์กับเด็กหนุ่มและผู้หญิงทำให้ชีวิตเขาตกต่ำเพราะเรื่องอื้อฉาวอยู่หลายครั้ง จนทำให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ไม่พอพระทัยและขนานนามเขาว่า โซโดไมต์ (Sodomite)

แม้ว่าจะมีเรื่องอื้อฉาวเหล่านี้ แต่ลูว์ลีก็สามารถทำตัวเองให้เป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ผู้ทรงพบว่าเขามีความสำคัญต่อความบันเทิงด้านดนตรี และเปรียบเสมือนว่าลูว์ลีคือพระสหายของพระองค์ ในปี 1681 ลูว์ลีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการสำนักพระราชวังและต่อมาก็ได้รับตำแหน่งสูงขึ้น หลังจากที่เขาเปลี่ยนมาใช้ชื่อฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี และถูกเรียกขานว่า เมอซีเยอเดอลูว์ลี

วันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1687 ลูว์ลีได้ควบคุมการบรรเลงบทเพลง "เตเดอุม" (Te Deum) เพื่อเป็นเกียรติแด่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่ทรงหายประชวรจากโรคร้าย เขากำกับวงโดยเคาะไม้เท้าลงพื้นดั่งเช่นที่เขาชอบทำ แต่กลับโดนนิ้วหัวแม่เท้ากลายเป็นแผลและเกิดเป็นหนองจนเน่าเปื่อย เขากลับปฏิเสธตัดนิ้วเท้า จนทำให้แผลลุกลามและเป็นเหตุให้เขาเสียชีวิตในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1687 แต่เรื่องสาเหตุการเสียชีวิตของลูว์ลีนี้ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันข้อเท็จจริง


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187